Daily Strategy ยังมีปัจจัยเสี่ยง คาดตลาดหุ้นผันผวน

Daily Strategy ยังมีปัจจัยเสี่ยง คาดตลาดหุ้นผันผวน
Create at 3 years ago (May 27, 2021 16:00)

คาดว่า SET วันนี้ จะเคลื่อนไหวในกรอบ 1,545-1,550 จุด ตลาดหุ้นมีโอกาสกลับมาผันผวน หลังปรับเพิ่มกว่า 16.7 จุด (+1.086) เมื่อวันอังคารที่ 25 พ.ค. ที่ผ่านมา โดยปัจจัยกดดันมาจาก (1) สถานการณ์โควิด-19 ในประเทศที่ยังไม่คลี่คลาย และ (การที่ MC ฉะปรับลดน้ำหนักหุ้นไทย แต่ยังมีปัจจัยบวกจากราคาน้ำมันดิบที่ปรับเพิ่ม เราแนะนําเก็งกําไรระยะ สนหุ้นในกลุ่มที่ได้ประโยชน์จากราคาน้ำมันดิบปรับเพิ่ม โดยเฉพาะหุ้นในกลุ่มพลังงานอย่าง PTTEP PTTGC TOP IRC VL และ SPRC และการออก พ.ร.ก. เงินกู้วงเงิน 5 แสนล้านบาท เพื่อลด ผลกระทบจากสถานการณ์โควต-19 ต่อภาพรวมเศรษฐกิจ 

กลยุทธ์การลงทุนเรายังคงแนะนํา Selective เน้นลงทุนหุ้นตาม Core investment ที่เราแนะนํา โดยเราให้สัดส่วนหุ้นในพอร์ต 505 สิงค์โปร์ปรับคาดการณ์ GDP ช่วง 1Q64 เติบโต 136 - สิงคโปร์ปรับคาดการณ์ GDP ในช่วง 1Q84 เติบโต 1.3% (เต็มคาด 0.2%) โดยรัฐบาลสิงคโปร์รายงานว่า สิงคโปร์ยังสามารถรักษาระดับการเติบโต ทางเศรษฐกิจในปี 2564 โดยคาดว่า GDP ในปี 2564 อยู่ที่ 40-6% แม้ปัจจุบันสถานการณ์การแพร่ ระบาดของไคโค-19 กลับมาระบาดเพิ่มขึ้นทั้งในสิงคโปร์และในต่างประเทศก็ตาม ถือว่าสิงคโปร์ สามารถรักษาระต้นการเติบโตทางเศรษฐกิจได้ดี 

แม้มีความไม่แน่นอนจากสถานการณ์การแพร่ระบาด ของโควิด-19 ที่เพิ่มขึ้นก็ตาม ส่วนหนึ่งเป็นผลมาจากการดําเนินการฉีดวัคซีน โดยสิงค์โปร์มีดวัคซีนครบ 2 โดส ประมาณ 1.4 ล้านคน คิดเป็น 25% ของจํานวนประชากร โดยกระทรวงสาธารณสุขเตรียมมีด วัคซีน Pfizer-BioWTech และ Moderna ให้กับคนที่มาอยู่ในสิงคโปร์แบบถูกกฎหมายทั้งหมดภายใน สิ้นปี 2564 อย่างไรก็ตามยังคงต้องติดตามการเติบโตต่อเนื่องใน 2Q60 ที่ได้รับผลกระทบจากสถานการณ์การแพร่ระบาดอีกครั้ง เริ่มตั้งแต่ เม.ย. ที่ผ่านมา

เฟด ลดความกังวลต่อภาวะเงินเฟ้อ แต่ยังต้องติดตาม GDP และ ACE สหรัฐฯ ปลายสัปดาห์ - ประธานเฟดสาขาชิคาโก แสดงความเชื่อมั่นว่า การเพิ่มขึ้นของอัตราเงินเฟ้อในช่วงที่ผ่านมา จะไม่ทําให้เกิดการ เปลี่ยนแปลงนโยบายการเงินแบบผ่อนคลาย เช่นเดียวกับรองประธานเฟด ที่ประเมินว่าการฟื้นตัวของ ภาพรวมเศรษกิจสหรัฐฯ จะเลดผลกระทบจากเงินเฟ้อที่เพิ่มขึ้นได้ 

อย่างไรก็ตามยังคงต้องติดตามตัวเลข ทางด้านเศรษฐกิจที่สําคัญ ปลายสัปดาห์นี้ ได้แก่ (1) ตัวเลข GDP ในช่วง 1Qwd (ประมาณการครั้งที่ 2 ของสหรัฐฯ วันนี้ (27 พ.ค.) และ (2) ดัชนีราคาการใช้จ่ายเพื่อการบริโภคส่วนบุคคล (KE) ในวันพรุ่งนี้ (28 พ.ค.) โดยผู้ชนี PCE นับเป็นมาตรวัดอัตราเงินเฟ้อที่เฟดให้ความสําคัญ

 

ราคาน้ำมันดิบปรับเพิ่ม หลังรายงานปริมาณสํารองน้ำมันดิบลดลงมากกว่าคาด - สัญญาน้ำมันดิบ WTI

ส่งมอบเดือน ก.ค. เพิ่มขึ้น 1g เซนต์ (+0.29%) สํานักงานสารสนเทศด้านการพลังงานของรัฐบาลสหรัฐ (EIA) รายงานปริมาณสํารองน้ำมันดิบสหรัฐฯ สตสูง 1.7 ล้านบาร์เรลในสัปดาห์ที่ผ่านมา (สิ้นสุดวันที่ 21 พ.ค.) มากกว่าที่ Market Consensus ที่คาดว่าจะลดลง 1.05 ล้านบาร์เรล 

รายงานปริมาณสํารอง น้ำมันดิบของ EIA สอดคล้องกับรายงานของสถาบันปิโตรเลียมอเมริกา (API) ที่เปิดเผยก่อนหน้านี้ ที่รายงานปริมาณสํารองน้ำมันดิบสหรัฐลดลง 439,000 บาร์เรล นอกจากนี้ EIA ยังรายงานปริมาณ สํารองน้ำมันดิบที่เมืองคูชิง รัฐโอกลาโฮมา ซึ่งเป็นจุดส่งมอบสัญญาน้ำมันดิบล่วงหน้าของสหรัฐฯ ลดลง 1 ล้านบาร์เรล 

ขณะที่ปริมาณสํารองน้ำมันดิบน้ำมันสําเร็จรูป น้ำมันเบนซินลดลง 1.7 ล้าน บาร์เรล (คาดลดลง 700,000 บาร์เรล) และน้ำมันกสั้น (สีดตั้งออยล์และน้ำมันดีเซล) ลดลง 3 ล้าน บาร์เรล (คาดลดลง 1.6 ล้านบาร์เรส) ติดตามรายงานตัวเลขทางด้านเศรษฐกิจที่สําคัญวันนี้ - รายงานเศรษฐกิจที่สําคัญของสหรัฐฯ ได้แก่ ตัวเลข GDP ในช่วง 1064 (คาดขยายตัว 6596QoQ) ยอดคําสั่งซื้อสินค้าคะทนพื้นฐาน (Core Durable Goods orders) เดือน เม.ย. (คาดเพิ่มขึ้น 0.7%A2M] ยอดคําสั่งซื้อสินค้าคงทน (Durable Goods Order) เดือน เม.ย. (คาดเพิ่มขึ้น 0.8%AcM) ยอดขายบ้านทรอปิดการขาย (Pending Home Sales) เดือน เม.ย. (คาดเพิ่มขึ้น 5.0% Moll) และตัวเลขการยื่นขอสวัสดิการว่างงานครั้งแรกประจําสัปดาห์

Tags:

TECHNICAL ANALYSIS

ARTICLES